กิฟฟารีน ไฟโตสเตอรอล Phytosterol Giffarine ชนิด แคปซูล - ช่วยดักจับคลอเรสเตอรอลในกระเพาะอาหาร เหมาะสำหรับผู้ที่ชอบรับประทานอาหารมัน หรืออาหารประเภทซีฟู้ด .
สำหรับใครที่ต้องการลดคอเลสเตอรอลภายในร่างกาย ขอบอกเลยว่าไฟโตสเตอรอลช่วยคุณได้ เพราะสารไฟโตสเตอรอลเป็นสารที่สามารถค้นพบได้มากในพืชต่างๆ เช่น รำข้าว จมูกข้าว ไข่แดง น้ำมันพืชชนิดต่างๆ งา ปู กุ้ง และตับ โดยสารชนิดนี้จะมีโครงสร้างทางเคมีที่คล้ายๆ กับคอเลสเตอรอลที่อยู่ภายในร่างกาย แต่ในทางตรงกันข้ามสารไฟโตสเตอรอลกลับมีคุณสมบัติที่ช่วยในการลดคอเลสเตอรอลภายในร่างกายได้ ซึ่งสารไฟโตสเตอรอลจะเกิดการยับยั้งในส่วนของการดูดซึมไขมันที่ทางเดินอาหารให้ถูกขับออกจากร่างกาย โดยจะมีกระบวนการขับถ่ายออกมาในรูปของอุจจาระ
ดังนั้นการบริโภคไฟโตสเตอรอลจะช่วยทำให้ระดับโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอล โคเลสเตอรอล (LDLCholesterol) หรือโคเลสเตอรอลชนิดไม่ดี ลดลง โดยที่ไม่ไปกระทบกับ เอชดีแอล โคเลสเตอรอล (HDL Cholesterol) หรือโคเลสเตอรอลชนิดดี เป็นผลให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง
สำหรับงานวิจัยที่สนับสนุนผลของไฟโตสเตอรอลในการลดโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอลโคเลสเตอรอลนั้น มีหลายงานวิจัยสนับสนุน โดยในปีคศ.1999 นั้น มีงานวิจัยตีพิมพ์ว่า ได้มีการใช้ไฟโตสเตอรอลในการศึกษากับมนุษย์ 16 งานวิจัย รวม 590 คน พบว่า สามารถช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลรวมในเลือดลงได้เฉลี่ย 10% และลดระดับ แอลดีแอล โคเลสเตอรอลลงได้ 13%
อีกงานวิจัยหนึ่งเป็นการกล่าวถึงว่า การได้รับไฟโตสเตอรอลในรูปเอสเทอร์ 2 กรัมต่อวัน สามารถช่วยลดระดับแอลดีแอล โคเลสเตอรอลลงได้ 10%
นอกจากนี้ คณะกรรมการอาหารและยา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ยอมรับถึงเรื่องประโยชน์ของไฟโตสเตอรอล โดยได้มีประกาศเกี่ยวกับข้อกำหนดเรื่องการกล่าวอ้างทางสุขภาพของ สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช (Plant Sterol Ester) กับความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความตอนหนึ่งว่า มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงให้เห็นว่า อาหารที่มี สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช (Plant Sterol Ester) ช่วยในการลดระดับของโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอลโคเลสเตอรอลได้ โดยข้อกำหนดนี้อนุญาตให้กล่าวอ้างบนฉลากอาหารประเภทที่มีโคเลสเตอรอลต่ำ หรือมีไขมันอิ่มตัวต่ำได้ว่า สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช อาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้ ที่การรับประทานอย่างน้อย 1.3 กรัมต่อวัน
- ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ไฟโตสเตอรอล ชนิดแคปซูล ตรากิฟฟารีน
ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล :
ไฟโตสเตอรอล เอสเทอร์ 650 มก.ประโยชน์ :
- ลดการดูดซึมโคเลสเตอรอล ในระบบทางเดินอาหาร โดยจับกับโคเลสตอรอล และไม่มีผลต่อการดูดซึมสารอาหารชนิดอื่นๆ
- ช่วยลดไขมันในเลือด ซึ่งมีประโยชน์ในผู้ที่ไขมันในเลือดสูง มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคหัวใจ
โรคหรือภาวะที่แนะนำ :
- ไขมันในเลือดสูง
- โรคหัวใจขาดเลือด
- เบาหวาน
- ผู้สูงอายุ
ข้อห้าม-ข้อควรระวัง :
ไฟโตสเตอรอล ทำจากถั่วเหลือง จึงห้ามในผู้ที่แพ้ถั่วเหลือง
หมายเหตุ :
- ควรรับประทานพร้อมอาหารในมื้อที่ทานไขมันมาก
- ไม่รับปะทานพร้อมกับสารที่ลดการดูดซึมน้ำมัน เช่น กลูโคแมนแนน แฟตต์-บล็อคเกอร์วิธีรับประทาน : ครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง พร้อมอาหาร
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค ไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค -
- เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ไฟโตสเตอรอล กับโคเลสเตอรอล
- ไฟโตสเตอรอล (Phytosterols) เป็นสารสเตอรอลที่พบในพืช มีโครงสร้างทางเคมีที่คล้ายกับโคเลสเตอรอลมาก จึงช่วยยับยั้งการดูดซึมโคเลสเตอรอลในอาหารที่เรารับประทานเข้าไปไม่ให้เข้า สู่กระแสเลือดด้วยกลไกการเข้าไปแทนที่โคเลสเตอรอล ที่ตัวรับโคเลสเตอรอล (และตัวไฟโตสเตอรอลเองจะถูกดูดซึมได้น้อยมาก) ทำให้โคเลสเตอรอลจากอาหารถูกดูดซึมน้อยลงและถูกขับออกมาพร้อมกับอุจจาระในที่สุดดังนั้นการบริโภคไฟโตสเตอรอลจะช่วยทำให้ระดับโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอล โคเลสเตอรอล (LDLCholesterol) หรือโคเลสเตอรอลชนิดไม่ดี ลดลง โดยที่ไม่ไปกระทบกับ เอชดีแอล โคเลสเตอรอล (HDL Cholesterol) หรือโคเลสเตอรอลชนิดดี เป็นผลให้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง (อ้างอิงที่ 1)สำหรับงานวิจัยที่สนับสนุนผลของไฟโตสเตอรอลในการลดโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอลโคเลสเตอรอลนั้น มีหลายงานวิจัยสนับสนุน โดยในปีคศ.1999 นั้น มีงานวิจัยตีพิมพ์ว่า ได้มีการใช้ไฟโตสเตอรอลในการศึกษากับมนุษย์ 16 งานวิจัย รวม 590 คน พบว่า สามารถช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลรวมในเลือดลงได้เฉลี่ย 10% และลดระดับ แอลดีแอล โคเลสเตอรอลลงได้ 13% (อ้างอิงที่ 2) อีกงานวิจัยหนึ่งเป็นการกล่าวถึงว่า การได้รับไฟโตสเตอรอลในรูปเอสเทอร์ 2 กรัมต่อวัน สามารถช่วยลดระดับแอลดีแอล โคเลสเตอรอลลงได้ 10% (อ้างอิงที่ 3)นอกจากนี้ คณะกรรมการอาหารและยา ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ยอมรับถึงเรื่องประโยชน์ของไฟโตสเตอรอล โดยได้มีประกาศเกี่ยวกับข้อกำหนดเรื่องการกล่าวอ้างทางสุขภาพของ สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช (Plant Sterol Ester) กับความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ มีความตอนหนึ่งว่า มีงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่แสดงให้เห็นว่า อาหารที่มี สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช (Plant Sterol Ester) ช่วยในการลดระดับของโคเลสเตอรอลรวม และแอลดีแอลโคเลสเตอรอลได้ โดยข้อกำหนดนี้อนุญาตให้กล่าวอ้างบนฉลากอาหารประเภทที่มีโคเลสเตอรอลต่ำ หรือมีไขมันอิ่มตัวต่ำได้ว่า สเตอรอลเอสเทอร์จากพืช อาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจได้ ที่การรับประทานอย่างน้อย 1.3 กรัมต่อวัน ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด (อ้างอิงที่ 4)โคเลสเตอรอล (Cholesterols) คือ สารประกอบไขมันชนิดหนึ่ง พบได้ในสัตว์ และมนุษย์ ร่างกายได้รับโคเลสเตอรอลจากการสังเคราะห์ของตับ และจากอาหารที่รับประทานเข้าไป โคเลสเตอรอลจำเป็นต่อการทำงานของร่างกายโดยทำหน้าที่เป็นส่วนประกอบของผนัง เซลล์ในร่างกาย และยังเป็นสารตั้งต้นของฮอร์โมนบางชนิดที่จำเป็นของร่างกาย และน้ำดี โดยปกติแล้ว โมเลกุลของ โคเลสเตอรอล จะลอยในกระแสเลือดไม่ได้ เมื่อโคเลสเตอรอลเข้าไปอยู่ในกระแสเลือด จะต้องมีการจับตัวกับโปรตีน เรียกว่า ไลโปโปรตีน โดยเราสามารถแบ่ง ไลโปโปรตีน หรือ อาจจะเรียกง่ายๆ ว่า โคเลสเตอรอลในเลือดออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่1. แอลดีแอล โคเลสเตอรอล (LDL Cholesterol)เปรียบเสมือน "ตัวผู้ร้าย" โดยแอลดีแอลที่มากเกิน จะเข้าไปแทรก และฝังตัวที่ผนังหลอดเลือด สะสมติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน และจะก่อให้เกิดเป็นพล๊าค (plaque) หรือตะกอน ที่ผนังหลอดเลือดแดง อันเป็นต้นเหตุของโรคหลอดเลือดแดงตีบตัน ยิ่งระดับ LDL โคเลสเตอรอลสูงมากเท่าไหร่ อัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น
- เอชดีแอล โคเลสเตอรอล (HDL Cholesterol)เปรียบเสมือน "ตำรวจ" คอยจับผู้ร้าย เพราะ เอชดีแอล โคเลสเตอรอล จะทำหน้าที่เป็นตัวพาโคเลสเตอรอล จากหลอดเลือดแดง กลับไปทำลายที่ตับ การมีระดับ HDL โคเลสเตอรอลสูง จึงช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Heart Disease)(อ้างอิงที่ 5-7)
การแบ่งระดับของโคเลสเตอรอลอ้างอิงจาก ATP III Classification of LDL, Total, and HDL Cholesterol (mg/dL), ATP III Guidelines At-A-Glance Quick Desk Reference, National Cholesterol Education (อ้างอิงที่ 8)โภชนาการเกิน เป็นปัญหาทางโภชนาการที่เกิดจากการบริโภคไขมันจากเนื้อสัตว์มากเกินความต้อง การของร่างกาย ทำให้เกิดโรคไขมันสูงในเลือด ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิด โรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งจะมีผลต่อการเกิดอัมพาตได้ กรดไขมันที่อิ่มตัว ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่จะเพิ่มปริมาณของโคเลสเตอรอลในเลือดให้สูงขึ้นได้ (อ้างอิงที่ 9) ดังนั้นพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการบริโภคของคนเราจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ เกิดภาวะโคเลสเตอรอลสูงสำหรับแนวทางในการควบคุมระดับโคเลสเตอรอล สามารถทำได้หลายวิธีคือ- ควบคุมอาหาร หลีกเลี่ยงอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง เช่น ไข่แดง เนื้อสัตว์ติดมัน เครื่องใน อาหารทะเลบางชนิด อาหารประเภททอด น้ำมันที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสูง น้ำมันมะพร้าว กะทิ หันมาบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพต่างๆ เช่น นมพร่องมันเนย และอาหารประเภทผักและผลไม้ต่างๆ หรือรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของไฟโตสเตอรอลพร้อมกับมื้ออาหาร
- ออกกำลังกายควบคู่ไปกับการควบคุมอาหาร วิธีนี้จะช่วยเพิ่มระดับ HDL โคเลสเตอรอล และลดระดับ LDL โคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ ควรออกกำลังกายอาทิตย์ละ 3 ครั้ง และทำอย่างต่อเนื่องใน แต่ละครั้งตามระดับความสามารถของร่างกายตัวเอง
3.ใช้ยาช่วยลดระดับไขมันในเลือด วิธีนี้ต้องอยู่ในความควบคุมของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อความปลอดภัย
- กิฟฟารีน ไฟโตสเตอรอล แคปซูล ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไฟโตสเตอรอล ชนิดแคปซูล ตรากิฟฟารินกิฟฟารีน ไฟโตสเตอรอล แคปซูล ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไฟโตสเตอรอล ชนิดแคปซูล ตรากิฟฟาริน ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล : ไฟโตสเตอรอล เอสเทอร์ 650 มิลลิกรัมวิธีใช้ :วิธีรับประทาน : ครั้งละ 1 แคปซูล วันละ 2ครั้ง พร้อมอาหาร คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภคใม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรครหัสสินค้า 40115ปริมาณสุทธิ : 60.00 แคปซูลน้ำหนักรวม : 105 กรัมจำนวน : 1 กระปุก
- เลขที่จดทะเบียนอย.13-1-03440-1-0133
- ราคา 980 บาท
- วิธีการสมัครสมาชิกกับเรา แบบง่ายๆ หรือจะสั่งซื้อสินค้ากับเรา1. สมัครได้ที่ศูนย์กิฟฟารีนใกล้บ้านท่าน โดนนำชื่อและระหัสผู้แนะนำไปกรอก(สรรเสริญ ศรีวารีรัตน์ รหัส 57111144)หรือจะนำรหัสของผมได้ซื้อเองที่สำนักงาน หรือจะสั่งทางออนไลน์ได้เลยนะครับโทร 063-9263628Line ID :popandgungEmail :sansroen.s@gmail.comเป็นเพื่อนกับเราได้ที่...ติดต่อทางเฟสบุ๊ค
HEALTH NEWS