ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กิฟฟารีน ไลโคพีน LYCOPENE - Giffarine


กิฟฟารีน ไลโคพีน LYCOPENE

 

        กิฟฟารีน ไลโคพีน “ไลโคพีน” เป็นสารแคโรทีนอยด์ พบกระจายอยู่ทั่วไปในร่างกายคนเรา โดยพบได้มากที่ต่อมหมวกไต และลูกอัณฑะ แต่ เนื่องจากร่างกายมนุษย์ ไม่สามารถสังเคราะห์ ขึ้นเองได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องได้รับจากการบริโภคเข้าไป




เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ ไลโคพีน
ไลโคพีน (Lycopene) เป็นสารแคโรทีนอยด์ (carotenoid) ที่มีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ
1.ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
2. ช่วยลดขนาดเนื้อร้ายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก
3. ช่วยลดการเติบโตของต่อมลูกหมากในผู้ป่วยต่อมลูกหมากโต
4. ช่วยบารุงผิว ทาให้ผิวเนียนนุ่ม ป้องกันผิวเสียจากแสงแดด
5. มีคุณสมบัติ ช่วยต้านมะเร็งรังไข่ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็งปอด
6. ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
7. ช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน
8. ช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของตัวอสุจิในชายที่มีบุตรยาก
ไลโคพีน เป็นสารแคโรทีนอยด์ พบกระจายอยู่ทั่วไปในร่างกาย โดยพบได้มากที่ต่อมหมวกไต (Adrenal) และลูกอัณฑะ (Testis) เนื่องจากร่างกายมนุษย์ ไม่สามารถสังเคราะห์แคโรทีนอยด์ขึ้นเองได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องได้รับจากการบริโภคเข้าไป แหล่งของไลโคพีนในอาหารคือ มะเขือเทศและผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศ โดยไลโคพีนเป็นสารแคโรทีนอยด์ที่ให้สีแดงในมะเขือเทศ นอกจากนี้ยังพบได้จากผลไม้อื่น ๆ เช่น แตงโม ฝรั่ง มะละกอ และพืชพวกส้ม (อ้างอิงที่ 1)
ไลโคพีนมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่มีศักยภาพ โดยมีความโดดเด่นในด้านการต้านอนุมูลอิสระแบบยับยั้งการทางานของ Singlet Oxygen (Singlet Oxygen Quenching) (อ้างอิงที่ 2,3)



    มีงานวิจัยต่างๆเกี่ยวกับประโยชน์ของ
ไลโคพีนในหลายๆด้านที่มีต่อมนุษย์ ดังนี้
            
ประโยชน์ของไลโคพีนต่อสุขภาพ
ของต่อมลูกหมากในเพศชาย
                 มีงานวิจัยในระดับ meta-analysis ซึ่งถือว่าเป็นงานวิจัยที่น่าเชื่อถือที่สุดแบบหนึ่ง สรุปได้ว่า ผลิตภัณฑ์จากมะเขือเทศ และไลโคพีน มีบทบาทในการป้องกันและลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก (อ้างอิงที่ 4-6)

      มะเร็งต่อมลูกหมาก 
มักจะพบได้ในชายที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป และชายที่มีพ่อหรือพี่น้องเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากจะมีโอกาสเป็นมะเร็งต่อมลูกหมากสูงกว่าคนทั่วไป (อ้างอิงที่ 7)
                 ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาว่า การได้รับไลโคพีนในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งต่อมลูกหมากเป็นเวลา 3 สัปดาห์ แล้วทาการผ่าตัดรักษา พบว่า เนื้อร้ายที่พบมีขนาดเล็กลง (อ้างอิงที่ 8-9)
                ในด้านการศึกษาเกี่ยวกับโรคต่อมลูกหมากโต มีการศึกษาในชายสูงอายุที่เป็นโรคต่อมลูกหมากโต แต่ไม่ได้เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก จานวน 40 คน โดยได้รับไลโคพีนเป็นระยะเวลา 6 เดือน พบว่า ช่วยหยุดการโตของต่อมลูกหมากได้ (อ้างอิงที่ 10)

                 ประโยชน์ของไลโคพีนต่อสุขภาพผิว

                 เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่ามีการใช้มะเขือเทศในการบารุงผิวพรรณ เช่น นามาฝานเป็นแว่นๆ แล้วใช้แปะที่ผิว หรือรอบดวงตา การดื่มน้ามะเขือเทศเพื่อบารุงผิวพรรณ เป็นต้น มีการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างไลโคพีนกับสุขภาพผิว โดยทาการศึกษาในกลุ่มผู้หญิงอายุ 40-50 ปี จานวน 20 คน พบว่า ผู้หญิงที่มีปริมาณไลโคพีนสูงกว่า จะมีผิวที่เนียนนุ่มกว่า (อ้างอิงที่ 11)
งานวิจัยในมนุษย์พบว่า การได้รับไลโคพีนช่วยป้องกันผิวเสียจากแสงแดดได้ (อ้างอิงที่ 12)

                ประโยชน์ของไลโคพีนในการต้านมะเร็ง
ไลโคพีนยังอาจช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งได้อีกหลายชนิดด้วยคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 13)
                มีงานวิจัยในระดับ meta-analysis ซึ่งเป็นงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ รายงานว่า ไลโคพีน มีบทบาทในการลดความเสี่ยงของมะเร็งรังไข่ในหญิงวัยหมดประจาเดือน ลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งหลอดอาหารได้ (อ้างอิงที่ 14-16)
การศึกษาอื่นๆพบว่า ไลโคพีนยังช่วยลดความเสี่ยงในเรื่องมะเร็งปอดได้ (อ้างอิงที่ 17)

               ประโยชน์ของไลโคพีนต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือด
                มีการศีกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease) พบว่าไลโคพีนช่วยทาให้การทางานของเซลล์ในหลอดเลือดดีขึ้น (อ้างอิงที่ 18)
                รายงานการศึกษาเกี่ยวกับไลโคพีนระบุว่า ไลโคพีนช่วยต้านการพัฒนาของโรคหลอดเลือดหัวใจไม่ให้ลุกลามได้ (อ้างอิงที่ 19)
                มีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับไลโคพีนกับอุบัติการณ์การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นระยะเวลานานกว่า 10 ปี พบว่า การได้รับไลโคพีนช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ (อ้างอิงที่ 20)

                ประโยชน์ของไลโคพีนต่อโรคกระดูกพรุน
มีรายงานการศีกษาในกลุ่มผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน พบว่าการได้รับไลโคพีนช่วยลดการสลายของกระดูกได้ จึงอาจเป็นประโยชน์ในการลดความเสี่ยงของการเป็นโรคกระดูกพรุน (อ้างอิงที่ 21,22)
และจากการติดตามศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เป็นเพศชาย 370 คน และเพศหญิง 576 คน อายุ 70-80 ปี เป็นเวลากว่า 17 ปี พบว่า ในกลุ่มที่ได้รับไลโคพีนสูง ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดกระดูกสะโพกหักได้ (อ้างอิงที่ 23)

              ประโยชน์ของไลโคพีนต่อภาวการณ์
มีบุตรยากในเพศชาย
              มีรายงานการศีกษาเรื่องไลโคพีนกับภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย พบว่า ไลโคพีนช่วยทาให้มีปริมาณอสุจิสูงขึ้น มีอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น และช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันได้ ทั้งยังมีรายงานในมนุษย์ว่าช่วยเพิ่มอัตราการตั้งครรภ์ได้ (อ้างอิงที่ 24)
              อีกการศึกษาหนึ่งทากับกลุ่มชายที่มีบุตรยากโดยไม่ทราบสาเหตุ พบว่าช่วยเพิ่มจานวนอสุจิได้ ลักษณะรูปร่างของตัวอสุจิและคุณภาพการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิดีขึ้น (อ้างอิงที่ 25)

      ข้อควรระวัง
ไลโคพีน มีผลต่อการแข็งตัวของเกร็ดเลือดเล็กน้อย และอาจจมีผลส่งเสริม การทางานของยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด จึงไม่แนะนา ในผู้ที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดและเกร็ดเลือด
               เอกสารอ้างอิง ของ ไลโคพีน
1. ไลโคปีน (Lycopene) ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. http://pcog2.pharmacy.psu.ac.th/thi/article8-51.asp
2. Quenching Activities of Common Hydrophilic and Lipophilic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science, Vol.11, 2007, 16-20
3. Overview of mechanisms of action of lycopene. Exp Biol Med (Maywood). 2002 Nov;227(10):920-3. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/12424335
4. The role of tomato products and lycopene in the prevention of prostate cancer: a meta-analysis of observational studies. Cancer Epidemiol Biomarkers Prev. 2004 Mar;13(3):340-5. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15006906
5. Lycopene and Risk of Prostate Cancer: A Systematic Review and Meta-Analysis. Medicine (Baltimore). 2015 Aug;94(33):e1260. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/26287411
6. Lycopene/tomato consumption and the risk of prostate cancer: a systematic review and meta-analysis of prospective studies. J Nutr Sci Vitaminol (Tokyo). 2013;59(3):213-23. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23883692
7. มะเร็งต่อมลูกหมาก สาขาศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. http://www.si.mahidol.ac.th/th/department/surgery/urogicalWebsite/th/article.html
8. Phase II randomized clinical trial of lycopene supplementation before radical prostatectomy. Cancer Epidemiol Biomarkers Prev. 2001 Aug;10(8):861-8. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11489752
9. Effects of lycopene supplementation in patients with localized prostate cancer. Exp Biol Med (Maywood). 2002 Nov;227(10):881-5. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/12424329
10. Lycopene inhibits disease progression in patients with benign prostate hyperplasia. J Nutr. 2008 Jan;138(1):49-53. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18156403
11. Cutaneous concentration of lycopene correlates significantly with the roughness of the skin. Eur J Pharm Biopharm. 2008 Aug;69(3):943-7. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18411044
12. Tomato paste rich in lycopene protects against cutaneous photodamage in humans in vivo: a randomized controlled trial. Br J Dermatol. 2011 Jan;164(1):154-62. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20854436
13. Lycopene: a review of its potential as an anticancer agent. Curr Med Chem Anticancer Agents. 2005 Nov;5(6):627-35. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/16305484
14. Meta-analysis of the association between dietary lycopene intake and ovarian cancer risk in postmenopausal women. Sci Rep. 2014 May 9;4:4885. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24810584
15. The role of tomato products and lycopene in the prevention of gastric cancer: a meta-analysis of epidemiologic studies. Med Hypotheses. 2013 Apr;80(4):383-8. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23352874
16. Carotenoid intake and esophageal cancer risk: a meta-analysis. Asian Pac J Cancer Prev. 2013;14(3):1911-8. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23679292
17. Tomato Lycopene and Lung Cancer Prevention: From Experimental to Human Studies. Cancers (Basel). 2011 Jun; 3(2): 2333–2357. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3757421/
18. Effects of oral lycopene supplementation on vascular function in patients with cardiovascular disease and healthy volunteers: a randomised controlled trial. PLoS One. 2014 Jun 9;9(6):e99070. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24911964
19. Lycopene and Its Antioxidant Role in the Prevention of Cardiovascular Diseases - A Critical Review. Crit Rev Food Sci Nutr. 2015 Feb 12:0. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/25675359
20. Relationship of lycopene intake and consumption of tomato products to incident CVD. Br J Nutr. 2013 Aug 28;110(3):545-51. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23317928
21. Dietary restriction of lycopene for a period of one month resulted in significantly increased biomarkers of oxidative stress and bone resorption in postmenopausal women. J Nutr Health Aging. 2011 Feb;15(2):133-8. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/21365167
22. Supplementation with the antioxidant lycopene significantly decreases oxidative stress parameters and the bone resorption marker N-telopeptide of type I collagen in postmenopausal women. Osteoporos Int. 2011 Apr;22(4):1091-101. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20552330
23. Protective effect of total carotenoid and lycopene intake on the risk of hip fracture: a 17-year follow-up from the Framingham Osteoporosis Study. J Bone Miner Res. 2009 Jun;24(6):1086-94. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/19138129
24. Lycopene and male infertility. Asian J Androl. 2014 May-Jun;16(3):420-5. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24675655

25. Lycopene therapy in idiopathic male infertility--a preliminary report. Int Urol Nephrol. 2002;34(3):369-72. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/12899230


กิฟฟารีน ไลโคพีน

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ไลโคพีน ผสมวิตามินซี ชนิดแคปซูล (ตรา กิฟฟารีน)

ส่วนประกอบ ใน 1 แคปซูล ประกอบด้วย
– มะเขือเทศผง                          385      มิลลิกรัม
– ไลโคพีน 10%                           60      มิลลิกรัม
( ให้ไลโคพีน 6 มิลลิกรัม)
– โซเดียมแอสคอร์เบต                  33.75 มิลลิกรัม
( ให้วิตามีนซี 30 มิลลิกรัม)

 

วิธีใช้ : รับประทานวันละ 1 แคปซูล หลังอาหาร

เลขที่จดทะเบียนอย.13-1-03440-1-0171

รหัสสินค้า : 41027
ปริมาณสุทธิ : 30.00 แคปซูล

น้ำหนักรวม : 50 กรัม

ราคา : 512 บาท


วิธีการสมัครสมาชิกกับเรา แบบง่ายๆ หรือจะสั่งซื้อสินค้ากับเรา

1. สมัครได้ที่ศูนย์กิฟฟารีนใกล้บ้านท่าน โดนนำชื่อและระหัสผู้แนะนำไปกรอก

(สรรเสริญ ศรีวารีรัตน์ รหัส 57111144)
หรือจะนำรหัสของผมได้ซื้อเองที่สำนักงาน หรือจะสั่งทางออนไลน์ได้เลยนะครับ

2.สมัครผ่านทางเวปนี้ได้เลย  ได้ที่นี่...คลิกเลย 
      โทร 063-9263628
Line ID :popandgung
Email :sansroen.s@gmail.com
หรือ คลิก สมัครกิฟฟารีน ออนไลน์ คลิ๊กที่นี่ (ให้ทางเราสมัครให้ครับ)
     เป็นเพื่อนกับเราได้ที่...ติดต่อทางเฟสบุ๊ค


โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

น้ำทับทิม กิฟฟารีน กรานาดา

เรามาดูกันว่า ประโยชน์ของน้ำทับทิมกรานาดา กิฟฟารีน   ที่เราซื้อ กันไปท่านแล้วจะให้ผลประโยชน์อะไรบ้างกับร่างกายของเรา คุ้มค่า หรือไม่ (ทุกวันนี้ Admin บอกได้เลยว่าดื่มอย่างมั่นใจ และทำให้ สุขภาพดีขึ้นจริงๆ และคุ้มค่าด้วย คุ้มค่าทั้งราคาและคุ้มทั้งสุขภาพของ เราเอง) พร้อมแล้วงั้นเราไปดูกันเลยว่าทางการแพทย์เขาว่าอย่างไรกัน บ้าง ทับทิมเป็นผลไม้ที่สวยงามและมีกลิ่นหอมมาก ทับทิมเป็นผลไม้ที่ ศักดิ์สิทธิ์ ในประวัติศาสตร์ พบว่าได้มีการนำ ทับทิม มาทำเป็นยารักษา โรคตั้งแต่ 8,000 ปีมาแล้ว ทับทิม POMEGRANATE ( Punica granatum L. ) ทับทิมเป็นผล ไม้ที่สวยงามและมีกลิ่นหอมมาก ทับทิมสามารถปลูกได้ ในประเทศไทย แต่ที่แท้จริงเป็นผลไม้ที่มีต้นกำเนิดมาจากเปอร์เซีย  (ประเทศอิหร่านในปัจจุบัน) ทับทิมเป็นผลไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์ ใน ประวัติศาสตร์ พบว่าได้มีการนำทับทิมมาทำเป็นยารักษาโรคตั้งแต่  8,000 ปีมาแล้ว ในประเทศเปอร์เซียโบราณมีความเชื่อว่า คุณค่าทาง อาหารทุกชนิดที่มีอยู่ในผลไม้ต่าง ๆ นั้น รวมกันอยู่ในทับทิม ทับทิม เป็นผลไม้ที่ได้รับการเพาะปลูกอย่างแพร่หลาย และทำเป็นผลิตภัณฑ์  ไปทั่วโลก ในทับทิม มีสา

ปัญจะภูตะ กิฟฟารีนเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร........ดื่มทุกวัน ได้ประโยชน์ดีดีทุกวัน

ปัณจะ ภูตะ เครื่องดื่มน้ำสมุนไพร 100% 39ชนิด  คัดสรรสมุนไพรทรงคุณค่าอย่างพิถีพิถัน 39 ชนิด สมุนไพรที่เด่นในพลังหยิน 20 ชนิด สมุนไพรที่เด่นในพลัง หยาง 19 ชนิด  สมดุล ของธาตุทั้ง 5 สมดุลของ หยิน  – หยาง ทำให้ทุกสรรพสิ่งบนโลกดำรงอยู่ได้อย่างปกติสุข เมื่อสมดุล ก็ ไม่ป่วย แข็งแรง มีความสำเร็จ มีความสุข ​ ปํญจะ ภูตะ สุดยอดสมุนไพร 39 ชนิด  ดูดซับพลังงานจากจักรวาล สะสมพลังในรูป หยิน-หยาง บางชนิดเด่นในพลัง ‘หยิน’ บางชนิดเด่นในพลัง ‘หยาง’ สร้างสมดุลชีวิต ​ ด้วยสุดยอดสมุนไพร 39 ชนิด เพื่อผลลัพธ์มหัศจรรย์ต่อสุขภาพ  และคุณภาพชีวิต อย่างไม่เคยมีมาก่อน ‘จิตสดใส กายแข็งแรง โรคร้ายหายขาด’   สมุนไพรธรรมชาติ 39 ชนิด   ถูกคัดสรรอย่างพิถีพิถัน โดยทีมแพทย์ผู้เขี่ยวชาญ เป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์ เย็น   14 ชนิด  ฤทธิ์เย็นกลาง 6 ชนิด  ฤทธิ์อุ่น 13 ชนิด  และฤทธิ์ร้อน 6 ชนิด นำมาผลิตภายใต้มาตรฐาน GMP  ผ่านการตรวจวิเคราะห์แล้วว่า  ปลอดเชื้อโรค  ปลอดสารพิษ ปลอดโลหะหนัก  จึงปลอดภัย 100 %  และได้รับการขึ้นทะเบียนจาก อ.ย.อย่างถูกต้อง ปัณจะ ภูตะเครื่องดื่มน้ำสมุนไพร............... ปัณจะ ภูตะ สุดยอดสมุนไพรอันทรง

ซิตริแม็กซ์ CITRIMAX กิฟฟารีน

ซิตริแม็กซ์ กิฟฟารีน  ซิตริแม็กซ์หรือ  HCA-SX นวัตกรรมในการดูแลรูปร่างให้หุ่นเป๊ะด้วย 3 กระบวนการสำคัญ              – ยับยั้งกระบวนการเปลี่ยนแป้ง และน้ำตาลให้เป็นไขมัน จึงลดการสะสมไขมันส่วนเกินในร่างกาย โดยยับยั้งเอนไซม์ ATP Citrate Lyase และลดการสร้าง Acetyl Coenzyme A ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในกระบวนการเปลี่ยนอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต เช่น แป้ง น้ำตาล เป็นไขมันสะสมในร่างกาย              – เร่งกระบวนการเผาผลาญไขมันที่สะสมในร่างกายไปใช้เป็นพลังงาน โดยกระตุ้นการทำงานและเพิ่มประสิทธิภาพของเอนไซม์ Carnitine Acyl Transferase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ช่วยในการเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่ในร่างกายไปใช้เป็นพลังงาน               – ลดปริมาณอาหารโดยที่ไม่ต้องอด และยังคงมีความสุขในการรับประทานอาหารที่คุณชื่นชอบได้เหมือนเดิม โดยช่วยเพิ่มการสร้างไกลโคเจน หรือพลังงานสำรองที่สะสมไว้ในตับและค่อยๆปล่อยออกมาใช้ได้ ส่งผลให้ร่างกายปรับสมดุลในการทานอาหารให้อิ่มเร็วขึ้น นอกจากนี้ ยังช่วยเพิ่มระดับสารสื่อประสาทที่มีชื่อว่า ซีโรโทนิน (Serotonin) ที่ควบคุมความรู้สึกอิ่ม และเกี่ยวข้องกับความสุขในการรับประทานอา