เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับ สมุนไพรที่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน
ปัจจุบัน มีการศึกษาการใช้สมุนไพรในการบรรเทาอาการของโรคกระเพาะ และกรดไหลย้อน โดยอาศัยกลไกการช่วยสมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli ลดอาการปวดท้อง/ ปวดเกร็งในกระเพาะ ทาให้มีอาการน้อยลง ป้องกันไม่ให้เกิดอาการอีก เป็นการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ตัวอย่างของสมุนไพรที่มีงานวิจัยเหล่านี้ เช่น
ในสังคมปัจจุบันมีแต่การแข่งขัน ทาให้การดาเนินชีวิตในแต่ละวันของทุกคนต้องเร่งรีบไปด้วย ส่งผลให้สุขภาพของคนในสังคมแย่ลงและปัญหาทาง สุขภาพที่พบได้บ่อย คือ การเกิดแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้เล็กส่วนต้น ซึ่งโดยทั่วไปเราเรียกกันว่า “โรคกระเพาะ”
โรคกระเพาะเป็นโรคที่พบได้บ่อยโรคหนึ่ง ประมาณว่าคนทั่วไปมีโอกาสเป็นโรคนี้ในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต โดยการเกิดแผลในกระเพาะมักพบในวัยกลางคน ขณะที่การเกิดแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นจะพบในวัยหนุ่มสาว อย่างไรก็ตามการเกิดแผลในกระเพาะอาหารหรือแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้นสามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเพศและทุกวัย
สาเหตุ เกิดจากมีการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไปร่วมกับความต้านทานต่อกรดของเยื่อบุกระเพาะอาหารและลาไส้ลดลง จึงทาให้มีแผลเกิดขึ้น และปัจจุบันพบว่ายังมีปัจจัยเสริมอื่นๆที่ทาให้เกิดโรคได้อีก ได้แก่
1. การติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร (Helicobactor Pylori) ซึ่งเป็นแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้าที่ปนเปื้อนเชื้อจากอุจจาระของผู้ติดเชื้อ เชื้อนี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใต้เยื่อบุกระเพาะ ผนังกระเพาะจึงอ่อนแอลงและมีความทนต่อกรดลดลง ทาให้กระเพาะอาหารและลาไส้เล็กส่วนต้นเกิดแผลได้ง่าย แผลหายช้า และเกิดแผลซ้าได้อีก
2. รับประทานสิ่งที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะและลำไส้ เช่น ดื่มชา กาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้าอัดลม และการรับประทานยาบางชนิด เช่น ยาแก้ปวดจาพวกแอสไพริน ยารักษาโรคกระดูกและข้ออักเสบ ยาชุดหรือยาลูกกลอนที่มีสเตียรอยด์ เป็นต้น
3. มีอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง เช่น การรับประทานอาหารอย่างเร่งรีบ รับประทานไม่เป็นเวลาหรืออดอาหารบางมื้อ เป็นต้น
4. การสูบบุหรี่ เพิ่มโอกาสของการเป็นแผลที่ลาไส้เล็กส่วนต้น
5. อื่นๆ เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล คิดมาก นอนไม่หลับ เครียด อารมณ์หงุดหงิด พักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นต้น
อาการของโรคกระเพาะ
มักมีอาการปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียดหรือจุกแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่ อาการปวดเหล่านี้เป็นได้ทั้งเวลาก่อนรับประทานอาหารหรือหลังรับประทานอาหารใหม่ๆและเวลาท้องว่าง เช่น เวลาหิวข้าว ตอนเช้ามืดหรือตอนดึกๆก็ปวดท้องได้เช่นกัน อาการปวดจะเป็นๆหายๆ เป็นได้วันละหลายๆครั้ง หรือตามมื้ออาหาร และแต่ละครั้งที่ปวดจะนานประมาณ 15 – 30 นาที อาการปวดจะบรรเทาลงได้ถ้ารับประทานอาหาร ดื่มนมหรือรับประทานยาลดกรด โรคกระเพาะถ้าได้รับการรักษาและดูแลตนเองให้ถูกต้องส่วนใหญ่เป็นแล้วจะหาย แต่ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องจนมีอาการมากและเรื้อรังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายแก่ชีวิตได้ เช่น
- เลือดออกในกระเพาะอาหาร โดยสังเกตได้จากมีถ่ายอุจจาระสีดาหรืออาเจียนเป็นเลือดหรืออาเจียนมีลักษณะคล้ายผงกาแฟบดปนอยู่
- กระเพาะลาไส้เป็นแผลทะลุ โดยสังเกตได้จากมีอาการปวดท้องรุนแรงทันทีทันใด หน้าท้องแข็ง กดเจ็บ
- กระเพาะลาไส้ตีบตัน โดยสังเกตได้จากมีอาการปวดท้อง รับประทานอาหารได้น้อย อิ่มเร็ว และอาเจียนเป็นอาหารที่ไม่ย่อยหลังรับประทานอาหาร
(อ้างอิงที่ 1)
โรคกรดไหลย้อน หมายถึง ภาวะที่มีน้าย่อยในกระเพาะอาหารซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรด ไหลย้อนขึ้นไปในหลอดอาหาร ส่งผลให้มีอาการระคายบริเวณลาคอ และแสบอกหรือจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ รวมทั้งมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อร่วมด้วย คล้าย ๆ กับอาการของโรคกระเพาะอาหาร ทาให้คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็นโรคกระเพาะอาหาร สาเหตุหลักของโรคนี้เกี่ยวข้องกับความผิดปกติในการทาหน้าที่ของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่าง เช่น มีการคลายตัวของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างโดยที่ไม่มีการกลืน หรือความดันของหูรูดของหลอดอาหารส่วนล่างลดลง ไม่สามารถต้านแรงดันในช่องท้องและการบีบตัวของกระเพาะอาหารได้ โรคนี้พบได้บ่อยในบุคคลทุกเพศทุกวัย หูรูดอาจเสื่อมตามอายุ หูรูดยังเจริญไม่เต็มที่ในเด็กทารก หรืออาจมีความผิดปกติที่เป็นมาแต่กาเนิด ปัจจัยอื่น ๆที่ส่งเสริมให้เกิดโรคกรดไหลย้อน อาทิ พฤติกรรมการบริโภค และการปฏิบัติตน ได้แก่ การรับประทานอาหารรสจัด/รสเผ็ด อาหารประเภทไขมันสูง อาหารทอด ชา กาแฟ น้าอัดลม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ การนอนหรือเอนกายทันทีหลังรับประทานอาหาร ความเครียด ตลอดจนการสวมเสื้อผ้าคับและรัดเข็มขัดแน่น เป็นต้น นอกจากนี้ การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาขยายหลอดลม ยาลดความดันกลุ่มปิดกั้นเบตาและกลุ่มต้านแคลเซียม ยาต้านคอลิเนอร์จิก ตลอดจนฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เป็นต้น จะมีผลกระตุ้นการคลายตัวของหูรูดหรือมีการหลั่งกรดมากขึ้น
- กระเพาะลาไส้เป็นแผลทะลุ โดยสังเกตได้จากมีอาการปวดท้องรุนแรงทันทีทันใด หน้าท้องแข็ง กดเจ็บ
- กระเพาะลาไส้ตีบตัน โดยสังเกตได้จากมีอาการปวดท้อง รับประทานอาหารได้น้อย อิ่มเร็ว และอาเจียนเป็นอาหารที่ไม่ย่อยหลังรับประทานอาหาร
(อ้างอิงที่ 1)
โรคกรดไหลย้อน หมายถึง ภาวะที่มีน้าย่อยในกระเพาะอาหารซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรด ไหลย้อนขึ้นไปในหลอดอาหาร ส่งผลให้มีอาการระคายบริเวณลาคอ และแสบอกหรือจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ รวมทั้งมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อร่วมด้วย คล้าย ๆ กับอาการของโรคกระเพาะอาหาร ทาให้คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็นโรคกระเพาะอาหาร สาเหตุหลักของโรคนี้เกี่ยวข้องกับความผิดปกติในการทาหน้าที่ของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่าง เช่น มีการคลายตัวของหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างโดยที่ไม่มีการกลืน หรือความดันของหูรูดของหลอดอาหารส่วนล่างลดลง ไม่สามารถต้านแรงดันในช่องท้องและการบีบตัวของกระเพาะอาหารได้ โรคนี้พบได้บ่อยในบุคคลทุกเพศทุกวัย หูรูดอาจเสื่อมตามอายุ หูรูดยังเจริญไม่เต็มที่ในเด็กทารก หรืออาจมีความผิดปกติที่เป็นมาแต่กาเนิด ปัจจัยอื่น ๆที่ส่งเสริมให้เกิดโรคกรดไหลย้อน อาทิ พฤติกรรมการบริโภค และการปฏิบัติตน ได้แก่ การรับประทานอาหารรสจัด/รสเผ็ด อาหารประเภทไขมันสูง อาหารทอด ชา กาแฟ น้าอัดลม การดื่มสุรา สูบบุหรี่ การนอนหรือเอนกายทันทีหลังรับประทานอาหาร ความเครียด ตลอดจนการสวมเสื้อผ้าคับและรัดเข็มขัดแน่น เป็นต้น นอกจากนี้ การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาขยายหลอดลม ยาลดความดันกลุ่มปิดกั้นเบตาและกลุ่มต้านแคลเซียม ยาต้านคอลิเนอร์จิก ตลอดจนฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน เป็นต้น จะมีผลกระตุ้นการคลายตัวของหูรูดหรือมีการหลั่งกรดมากขึ้น
อาการของโรคกรดไหลย้อน
มีอาการแสบอกหรือจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ คล้ายอาหารไม่ย่อย เรอบ่อย และอาจมีอาการคลื่นไส้ร่วมด้วย บางรายพบว่ามีภาวะเรอเปรี้ยว คือมีกรดซึ่งเป็นน้ารสเปรี้ยวหรือน้าดีซึ่งมีรสขมไหลย้อนขึ้นมาในปากหรือคอ หรือหายใจมีกลิ่น และบางรายอาจพบอาการผิดปกติของโรคหู คอ จมูก เช่น ไอเรื้อรัง เสียงแหบเรื้อรัง หรืออาการหอบหืดเป็นมากขึ้น เป็นต้นเนื่องจากมีการไหลย้อนของน้าย่อยไประคายที่คอหอย กล่องเสียง และหลอดลม แม้ว่าโรคกรดไหลย้อน ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่เป็นโรคที่ทาให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมาน รวมทั้งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการทางาน และถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องจนมีอาการมากและเรื้อรังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้แก่
- หลอดอาหารอักเสบ ซึ่งจะมีอาการเจ็บหน้าอกขณะกลืนอาหาร
- แผลหลอดอาหาร อาจมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนบน เช่น อาเจียนเป็นเลือด หรือมีถ่ายดา
- หลอดอาหารตีบตัน พบว่ามีอาการกลืนอาหารลาบาก อาเจียนบ่อย
- เกิดการเปลี่ยนแปลงเซลล์ของเยื่อบุหลอดอาหาร ถ้าเป็นรุนแรงอาจเกิดมะเร็งของหลอดอาหาร ซึ่งจะมีอาการเจ็บขณะกลืนอาหาร กลืนลาบาก อาเจียนบ่อย และน้าหนักลด
(อ้างอิงที่ 2)
ว่านหางจระเข้: ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli
สาหรับงานวิจัยในมนุษย์นั้น ได้มีการทดลองในยูเครน โดยนำน้ำวุ้นว่าหางจระเข้มาเตรียมเป็น emulsion ให้รับประทานครั้งละ 2 – 2.5 fluid drams มาทดลองในผู้ป่วย 12 ราย พบว่า หายทุกราย กระบวนการออกฤทธิ์มาจาก การไปจับตัวกับน้าย่อยที่มีชื่อว่า เพพซิน (pepsin) ทาให้ย่อยโปรตีนไม่ได้ จึงลดการเกิดแผลในขณะท้องว่าง อีกทั้งยังช่วยยับยั้งการหลั่งกรด รวมถึงตัววุ้นมีสาร Manuronic และ Glucuronic acid จึงช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 3, 4)
การศึกษาในหนูทดลองซึ่งเหนี่ยวนาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารกินวุ้นว่านหางจระเข้วันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 มก./น.น. ตัว 100 กรัม พบว่ากลุ่มที่ได้รับว่านหางจระเข้จะไม่มีแผล ส่วนในกลุ่มที่ได้ cortisol และ cortisol ร่วมกับว่านหางจระเข้ มีแผล และพบว่าเยื่อเมือกมีความหนาเพิ่มขึ้นในส่วนต้นของต่อมในกระเพาะอาหาร แสดงว่าวุ้นว่านหางจระเข้จะช่วยลดการเกิดแผล โดยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 3, 5) อีกการศึกษาหนึ่งพบว่า ว่านหางจระเข้มีกลไกในการออกฤทธิ์ โดยไปเคลือบป้องกันเยื่อเมือกกระเพาะอาหารจากการถูกทาลายโดยตรง และไปเพิ่มแรงต้านทานของชั้นเยื่อเมือกกระเพาะอาหาร รวมทั้งช่วยเสริมสร้างในการทาให้บาดแผลหายเร็วยิ่งขึ้น (อ้างอิงที่ 6)
มีการศึกษาถึงฤทธิ์ของว่านหางจระเข้ กับ ยาซูครัลเฟต (Sucralfate) ที่เป็นยารักษาโรคแผลกระเพาะอาหาร
โดยการทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูทดลองด้วยกรดแอซิติก ความเข้มข้น 20 % พบว่ากลุ่มที่ทาการรักษาด้วย ยาซูครัลเฟตและว่านหางจระเข้ เนื้อเยื้อในกระเพาะอาหารมีการอักเสบน้อยลง แผลมีขนาดเล็กลง เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการรักษา (อ้างอิง 7) และยังมีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของว่านหางจระเข้ที่มีต่อการหลั่งกรด และน้าย่อย พบว่า สามารถลดปริมาณการหลั่งกรด และน้าย่อยได้ (อ้างอิง 8, 9)
ในการศึกษาด้านการต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร พบว่า Aloe Emodin ซึ่งเป็นสาร Anthraquinone ในส่วนยางของว่านหางจระเข้ สามารถยับยั้งการเจริญของ Helicobacter pylori ได้ (อ้างอิง 3, 10)
ขมิ้นชันและสารสกัดจากขมิ้น: ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli ลดอาการปวดท้อง/ ปวดเกร็งในกระเพาะ ขมิ้นมีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร โดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อบริเวณที่เป็นแผล ทาให้แผลหายเร็วขึ้น ทาให้แผลหายเร็วขึ้น ar-turmerone จากน้ามันหอมระเหยของขมิ้นเป็นสารออกฤทธิ์ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ได้มีการทดลองทางคลินิกในการใช้ขมิ้นในการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องด้วยอาการโรคแผลในกระเพาะอาหาร โดยเปรียบเทียบกับการใช้ยาไตรซิลิเกต (trisilicate) ซึ่งเป็นยาลดกรดขององค์การเภสัชกรรมได้ผลดังนี้ คือ อาการดีขึ้นมากหลังรักษาด้วยขมิ้นชันครบ 12 สัปดาห์ จานวน 15 ราย คิดเป็น 60% หายเป็นปกติ 1 ราย คิดเป็น 5.8% อาการดีขึ้นมากหลังรักษาด้วยยาไตรซิลิเกต 5 ราย คิดเป็น 50% และหายเป็นปกติ 4 ราย คิดเป็น 40% (อ้างอิงที่ 11, 12)
นอกจากนี้ได้มีการทดลองต่อมาในผู้ป่วย 25 รายซึ่งผ่านการส่องกล้องดูแล้วว่า มีแผลในกระเพาะ และลาไส้เล็กส่วนต้น ให้รับประทานขมิ้นแคปซูล 300 มก. (2 แคปซูล) 5 เวลา คือ ก่อนอาหาร ชั่วโมงที่ 16 และก่อนนอน พบว่า หลังสัปดาห์ที่ 4 มี 12 ราย ที่แผลหายไป คิดเป็น 48 % และหลังสัปดาห์ที่ 8 มี 18 ราย ที่แผลหายไป คิดเป็น 72 % และเมื่อครบ 12 สัปดาห์ พบว่ามี 19 ราย ที่แผลหายไป ในงานวิจัยเดียวกันนี้ ทดลองให้ขมิ้นแคปซูลเป็นเวลา 4 สัปดาห์แก่ผู้ที่ไม่ได้เป็นโรคกระเพาะ แต่มีอาการคล้ายอาหารไม่ย่อย กระเพาะอาหารอักเสบ ปวดท้อง จานวน 20 ราย พบว่าอาการปวดท้องและไม่สบายท้องหายไป เมื่อให้ขมิ้นแคปซูลใน 1-2 สัปดาห์แรก และสามารถรับประทานอาหารได้ปกติแทนอาหารอ่อนได้ใน 4 สัปดาห์ และเมื่อวัดระดับสารต่างๆ ในเลือดของผู้ป่วยทุกราย ไม่พบการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญ (อ้างอิงที่ 13)
มีงานวิจัยที่ระบุว่า curcumin จากขมิ้นช่วยลดความเสี่ยงจากจากโรคที่เกิดจากการอักเสบต่างๆได้ เช่น มะเร็ง และ แผลในกระเพาะอาหาร ด้วยคุณสมบัติต้านการอักเสบ และต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 14) นอกจากนี้ ขมิ้นยังช่วยต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยกระตุ้นการหลั่งมิวซินมาเคลือบ และยับยั้งการหลั่งน้าย่อยต่างๆ (อ้างอิงที่ 15) มีการศึกษากลไกของ curcumin ว่า มีคุณสมบัติในการต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ด้วยกลไกการยับยั้งการหลั่งกรด ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย และช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร รวมทั้งกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 16-18) และยังมีรายงานการศึกษาว่า curcumin สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Helicobacter pyroli ซึ่งเป็นเชื้อที่ถือว่าเป็นต้นเหตุสาคัญของการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากไปทาให้เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกย่อยทาลายโดยกรดและน้าย่อยได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม 1 ที่มีความเกี่ยวข้องกับการนาไปสู่การเป็นมะเร็งในกระเพาะอาหารและมะเร็งลาไส้ใหญ่ได้ (อ้างอิงที่ 11, 19, 20) สาหรับการศึกษาในมนุษย์ มีการศึกษา ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารจานวน 55 คน ซึ่ง 35 คนในนั้น ตรวจพบว่ามีเชื้อ Helicobacter pyroli โดยให้ผู้ป่วยได้รับขมิ้นบรรจุแคปซูล ขนาด 250 มิลลิกรัม ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง แล้วตรวจผลที่ 4 สัปดาห์ และ 8 สัปดาห์ พบว่าที่ 4 สัปดาห์นั้น แผลหาย 35 คน และเหลือผู้ที่ตรวจพบว่ามีเชื้ออยู่ 15 คน ขณะที่เมื่อครบ 8 สัปดาห์แล้ว เหลือผู้ป่วยที่เป็นแผลเพียง 7 คน และ พบว่ามีผู้ที่ยังคงมีเชื้อ Helicobacter pyroli อีก 8 คน (อ้างอิงที่ 21)
สารสกัดจากมะขามป้อม: ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli
สารสกัดจากผลมะขามป้อม มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ มีรายงานผลจากการศึกษาว่าสารสกัดจากมะขามป้อมมีฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และยังป้องกันการเกิดแผลเรื้อรัง โดย มีกระบวนการออกฤทธิ์ในด้าน ลดการอักเสบ ลดปริมาณกรด ลดปริมาณน้าย่อยเปปซิน ช่วยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 22- 24) และช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli (อ้างอิงที่ 25)
สารสกัดจากใบบัวบก: สมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก
มีรายงานการศึกษาในมนุษย์ถึงการใช้สารสกัดจากใบบัวบกกับผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้ 15 ราย ในขนาด 60 มิลลิกรัมต่อคน พบว่าประมาณ 93 % ของผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างชัดเจน และเมื่อตรวจด้วยกล้องหรือ ด้วยการฉายรังสี ดูแล้วพบว่า 73 % ของแผลหายไป (อ้างอิงที่ 26) การศึกษาในสัตว์ทดลองก็ให้ผลในทานองเดียวกันคือ แผลจะมีขนาดเล็กลงหลังจากได้รับสารสกัดจากใบบัวบก ซึ่งเป็นผลจากความสามารถในด้านการต้านการอักเสบ (อ้างอิงที่ 27,28) และใบบัวบกยังช่วยกระตุ้นการสร้างเมือกด้วย (อ้างอิงที่ 29)
สารสกัดจากทับทิม: กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ต้านเชื้อ H. Pyroli
มีรายงานการศึกษาว่าแทนนินในทับทิม มีบทบาทในการป้องกันแผลในกระเพาะอาหารโดยไปช่วยเพิ่มการหลั่งเมือกในกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 30) การทดลองในหนูพบว่า สารสกัดจากทับทิมช่วยทาให้เป็นแผลน้อยลง ลดกรด และกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 31) และยังมีรายงานการศึกษาว่าสารสกัดจากทับทิม สามารถช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ได้ (อ้างอิงที่ 32)
ผงขิง: กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli ลดอาการปวดท้อง/ ปวดเกร็งในกระเพาะ
ขิงมีฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยพบว่าการศึกษาในสัตว์ทดลอง สารสกัดจากขิงให้ผลในด้านการลดขนาดของแผล ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ลดปริมาณและความเป็นกรดของน้าย่อยในกระเพาะอาหาร เพิ่มการหลั่งเยื่อเมือกจากเยื่อบุกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 33) และ ช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli (อ้างอิงที่ 34,35)
ตารับยาที่มีขิงเป็นส่วนประกอบใช้เป็นยารักษาแผลในกระเพาะอาหารและกระเพาะอาหารอักเสบได้ แคปซูลที่มีสารสกัดขิงประกอบอยู่ร้อยละ 10-70 ใช้รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ยับยั้งการหลั่งกรด ลดความเป็นกรดตลอดจนยับยั้งการทางานของเอนไซม์ pepsin และบรรเทาอาการปวดเกร็งในกระเพาะได้ (อ้างอิงที่ 33)
ชะเอมเทศสกัด: ลดกรด กระตุ้นการสร้างเมือก ต้านเชื้อ H. Pyroli
การศึกษาในมนุษย์พบว่า ชะเอมเทศให้ผลในด้านการต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ได้ (อ้างอิงที่ 36) ซึ่งเป็นผลจากสารฟลาโวนอยด์ในชะเอมเทศเอง โดยช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ชนิดที่ทนต่อยาฆ่าเชื้ออะมอกซิลิน (amoxicillin) และ คลาริโธมัยซิน (clarithromycin) (อ้างอิงที่ 37) นอกจากนี้ มีศึกษาการใช้ยาที่ทาจากสารสกัดชะเอมเทศในหนูทดลอง พบว่า สามารถป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารโดยช่วยลดกรด (อ้างอิงที่ 38) และมีการอ้างถึงการใช้สารสกัดจากชะเอมเทศในการใช้รักษาโรคกระเพาะ โดยจะไปช่วยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 36,39)
เอกสารอ้างอิง
1. วิธีดูแลตนเองเมื่อเป็น...โรคกระเพาะ RAMA Clinic เวปไซต์เพื่อประชาชน โรงพยาบาลรามาธิบดี.http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/main/?q=http%3A//ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/main/contact
2. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เรื่อง เกิร์ด (GERD) – โรคกรดไหลย้อน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/44/เกิร์ด-GERD-โรคกรดไหลย้อน/
- หลอดอาหารอักเสบ ซึ่งจะมีอาการเจ็บหน้าอกขณะกลืนอาหาร
- แผลหลอดอาหาร อาจมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนบน เช่น อาเจียนเป็นเลือด หรือมีถ่ายดา
- หลอดอาหารตีบตัน พบว่ามีอาการกลืนอาหารลาบาก อาเจียนบ่อย
- เกิดการเปลี่ยนแปลงเซลล์ของเยื่อบุหลอดอาหาร ถ้าเป็นรุนแรงอาจเกิดมะเร็งของหลอดอาหาร ซึ่งจะมีอาการเจ็บขณะกลืนอาหาร กลืนลาบาก อาเจียนบ่อย และน้าหนักลด
(อ้างอิงที่ 2)
รายงานการศึกษาการใช้สมุนไพรต่างๆ เป็นดังนี้
ว่านหางจระเข้: ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli
สาหรับงานวิจัยในมนุษย์นั้น ได้มีการทดลองในยูเครน โดยนำน้ำวุ้นว่าหางจระเข้มาเตรียมเป็น emulsion ให้รับประทานครั้งละ 2 – 2.5 fluid drams มาทดลองในผู้ป่วย 12 ราย พบว่า หายทุกราย กระบวนการออกฤทธิ์มาจาก การไปจับตัวกับน้าย่อยที่มีชื่อว่า เพพซิน (pepsin) ทาให้ย่อยโปรตีนไม่ได้ จึงลดการเกิดแผลในขณะท้องว่าง อีกทั้งยังช่วยยับยั้งการหลั่งกรด รวมถึงตัววุ้นมีสาร Manuronic และ Glucuronic acid จึงช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 3, 4)
การศึกษาในหนูทดลองซึ่งเหนี่ยวนาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารกินวุ้นว่านหางจระเข้วันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 5 มก./น.น. ตัว 100 กรัม พบว่ากลุ่มที่ได้รับว่านหางจระเข้จะไม่มีแผล ส่วนในกลุ่มที่ได้ cortisol และ cortisol ร่วมกับว่านหางจระเข้ มีแผล และพบว่าเยื่อเมือกมีความหนาเพิ่มขึ้นในส่วนต้นของต่อมในกระเพาะอาหาร แสดงว่าวุ้นว่านหางจระเข้จะช่วยลดการเกิดแผล โดยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 3, 5) อีกการศึกษาหนึ่งพบว่า ว่านหางจระเข้มีกลไกในการออกฤทธิ์ โดยไปเคลือบป้องกันเยื่อเมือกกระเพาะอาหารจากการถูกทาลายโดยตรง และไปเพิ่มแรงต้านทานของชั้นเยื่อเมือกกระเพาะอาหาร รวมทั้งช่วยเสริมสร้างในการทาให้บาดแผลหายเร็วยิ่งขึ้น (อ้างอิงที่ 6)
มีการศึกษาถึงฤทธิ์ของว่านหางจระเข้ กับ ยาซูครัลเฟต (Sucralfate) ที่เป็นยารักษาโรคแผลกระเพาะอาหาร
โดยการทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูทดลองด้วยกรดแอซิติก ความเข้มข้น 20 % พบว่ากลุ่มที่ทาการรักษาด้วย ยาซูครัลเฟตและว่านหางจระเข้ เนื้อเยื้อในกระเพาะอาหารมีการอักเสบน้อยลง แผลมีขนาดเล็กลง เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการรักษา (อ้างอิง 7) และยังมีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของว่านหางจระเข้ที่มีต่อการหลั่งกรด และน้าย่อย พบว่า สามารถลดปริมาณการหลั่งกรด และน้าย่อยได้ (อ้างอิง 8, 9)
ในการศึกษาด้านการต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร พบว่า Aloe Emodin ซึ่งเป็นสาร Anthraquinone ในส่วนยางของว่านหางจระเข้ สามารถยับยั้งการเจริญของ Helicobacter pylori ได้ (อ้างอิง 3, 10)
ขมิ้นชันและสารสกัดจากขมิ้น: ช่วยสมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli ลดอาการปวดท้อง/ ปวดเกร็งในกระเพาะ ขมิ้นมีฤทธิ์สมานแผลในกระเพาะอาหาร โดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อบริเวณที่เป็นแผล ทาให้แผลหายเร็วขึ้น ทาให้แผลหายเร็วขึ้น ar-turmerone จากน้ามันหอมระเหยของขมิ้นเป็นสารออกฤทธิ์ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ได้มีการทดลองทางคลินิกในการใช้ขมิ้นในการรักษาผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องด้วยอาการโรคแผลในกระเพาะอาหาร โดยเปรียบเทียบกับการใช้ยาไตรซิลิเกต (trisilicate) ซึ่งเป็นยาลดกรดขององค์การเภสัชกรรมได้ผลดังนี้ คือ อาการดีขึ้นมากหลังรักษาด้วยขมิ้นชันครบ 12 สัปดาห์ จานวน 15 ราย คิดเป็น 60% หายเป็นปกติ 1 ราย คิดเป็น 5.8% อาการดีขึ้นมากหลังรักษาด้วยยาไตรซิลิเกต 5 ราย คิดเป็น 50% และหายเป็นปกติ 4 ราย คิดเป็น 40% (อ้างอิงที่ 11, 12)
นอกจากนี้ได้มีการทดลองต่อมาในผู้ป่วย 25 รายซึ่งผ่านการส่องกล้องดูแล้วว่า มีแผลในกระเพาะ และลาไส้เล็กส่วนต้น ให้รับประทานขมิ้นแคปซูล 300 มก. (2 แคปซูล) 5 เวลา คือ ก่อนอาหาร ชั่วโมงที่ 16 และก่อนนอน พบว่า หลังสัปดาห์ที่ 4 มี 12 ราย ที่แผลหายไป คิดเป็น 48 % และหลังสัปดาห์ที่ 8 มี 18 ราย ที่แผลหายไป คิดเป็น 72 % และเมื่อครบ 12 สัปดาห์ พบว่ามี 19 ราย ที่แผลหายไป ในงานวิจัยเดียวกันนี้ ทดลองให้ขมิ้นแคปซูลเป็นเวลา 4 สัปดาห์แก่ผู้ที่ไม่ได้เป็นโรคกระเพาะ แต่มีอาการคล้ายอาหารไม่ย่อย กระเพาะอาหารอักเสบ ปวดท้อง จานวน 20 ราย พบว่าอาการปวดท้องและไม่สบายท้องหายไป เมื่อให้ขมิ้นแคปซูลใน 1-2 สัปดาห์แรก และสามารถรับประทานอาหารได้ปกติแทนอาหารอ่อนได้ใน 4 สัปดาห์ และเมื่อวัดระดับสารต่างๆ ในเลือดของผู้ป่วยทุกราย ไม่พบการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญ (อ้างอิงที่ 13)
มีงานวิจัยที่ระบุว่า curcumin จากขมิ้นช่วยลดความเสี่ยงจากจากโรคที่เกิดจากการอักเสบต่างๆได้ เช่น มะเร็ง และ แผลในกระเพาะอาหาร ด้วยคุณสมบัติต้านการอักเสบ และต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 14) นอกจากนี้ ขมิ้นยังช่วยต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยกระตุ้นการหลั่งมิวซินมาเคลือบ และยับยั้งการหลั่งน้าย่อยต่างๆ (อ้างอิงที่ 15) มีการศึกษากลไกของ curcumin ว่า มีคุณสมบัติในการต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ด้วยกลไกการยับยั้งการหลั่งกรด ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย และช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร รวมทั้งกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 16-18) และยังมีรายงานการศึกษาว่า curcumin สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Helicobacter pyroli ซึ่งเป็นเชื้อที่ถือว่าเป็นต้นเหตุสาคัญของการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากไปทาให้เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกย่อยทาลายโดยกรดและน้าย่อยได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม 1 ที่มีความเกี่ยวข้องกับการนาไปสู่การเป็นมะเร็งในกระเพาะอาหารและมะเร็งลาไส้ใหญ่ได้ (อ้างอิงที่ 11, 19, 20) สาหรับการศึกษาในมนุษย์ มีการศึกษา ผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารจานวน 55 คน ซึ่ง 35 คนในนั้น ตรวจพบว่ามีเชื้อ Helicobacter pyroli โดยให้ผู้ป่วยได้รับขมิ้นบรรจุแคปซูล ขนาด 250 มิลลิกรัม ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง แล้วตรวจผลที่ 4 สัปดาห์ และ 8 สัปดาห์ พบว่าที่ 4 สัปดาห์นั้น แผลหาย 35 คน และเหลือผู้ที่ตรวจพบว่ามีเชื้ออยู่ 15 คน ขณะที่เมื่อครบ 8 สัปดาห์แล้ว เหลือผู้ป่วยที่เป็นแผลเพียง 7 คน และ พบว่ามีผู้ที่ยังคงมีเชื้อ Helicobacter pyroli อีก 8 คน (อ้างอิงที่ 21)
สารสกัดจากมะขามป้อม: ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli
สารสกัดจากผลมะขามป้อม มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ มีรายงานผลจากการศึกษาว่าสารสกัดจากมะขามป้อมมีฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และยังป้องกันการเกิดแผลเรื้อรัง โดย มีกระบวนการออกฤทธิ์ในด้าน ลดการอักเสบ ลดปริมาณกรด ลดปริมาณน้าย่อยเปปซิน ช่วยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 22- 24) และช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli (อ้างอิงที่ 25)
สารสกัดจากใบบัวบก: สมานแผล ลดการอักเสบ กระตุ้นการสร้างเมือก
มีรายงานการศึกษาในมนุษย์ถึงการใช้สารสกัดจากใบบัวบกกับผู้ป่วยโรคแผลในกระเพาะอาหารและลาไส้ 15 ราย ในขนาด 60 มิลลิกรัมต่อคน พบว่าประมาณ 93 % ของผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างชัดเจน และเมื่อตรวจด้วยกล้องหรือ ด้วยการฉายรังสี ดูแล้วพบว่า 73 % ของแผลหายไป (อ้างอิงที่ 26) การศึกษาในสัตว์ทดลองก็ให้ผลในทานองเดียวกันคือ แผลจะมีขนาดเล็กลงหลังจากได้รับสารสกัดจากใบบัวบก ซึ่งเป็นผลจากความสามารถในด้านการต้านการอักเสบ (อ้างอิงที่ 27,28) และใบบัวบกยังช่วยกระตุ้นการสร้างเมือกด้วย (อ้างอิงที่ 29)
สารสกัดจากทับทิม: กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ต้านเชื้อ H. Pyroli
มีรายงานการศึกษาว่าแทนนินในทับทิม มีบทบาทในการป้องกันแผลในกระเพาะอาหารโดยไปช่วยเพิ่มการหลั่งเมือกในกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 30) การทดลองในหนูพบว่า สารสกัดจากทับทิมช่วยทาให้เป็นแผลน้อยลง ลดกรด และกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 31) และยังมีรายงานการศึกษาว่าสารสกัดจากทับทิม สามารถช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ได้ (อ้างอิงที่ 32)
ผงขิง: กระตุ้นการสร้างเมือก ลดกรด ลดการทางานของน้าย่อย ต้านเชื้อ H. Pyroli ลดอาการปวดท้อง/ ปวดเกร็งในกระเพาะ
ขิงมีฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยพบว่าการศึกษาในสัตว์ทดลอง สารสกัดจากขิงให้ผลในด้านการลดขนาดของแผล ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ลดปริมาณและความเป็นกรดของน้าย่อยในกระเพาะอาหาร เพิ่มการหลั่งเยื่อเมือกจากเยื่อบุกระเพาะอาหาร (อ้างอิงที่ 33) และ ช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli (อ้างอิงที่ 34,35)
ตารับยาที่มีขิงเป็นส่วนประกอบใช้เป็นยารักษาแผลในกระเพาะอาหารและกระเพาะอาหารอักเสบได้ แคปซูลที่มีสารสกัดขิงประกอบอยู่ร้อยละ 10-70 ใช้รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ยับยั้งการหลั่งกรด ลดความเป็นกรดตลอดจนยับยั้งการทางานของเอนไซม์ pepsin และบรรเทาอาการปวดเกร็งในกระเพาะได้ (อ้างอิงที่ 33)
ชะเอมเทศสกัด: ลดกรด กระตุ้นการสร้างเมือก ต้านเชื้อ H. Pyroli
การศึกษาในมนุษย์พบว่า ชะเอมเทศให้ผลในด้านการต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ได้ (อ้างอิงที่ 36) ซึ่งเป็นผลจากสารฟลาโวนอยด์ในชะเอมเทศเอง โดยช่วยต้านเชื้อ Helicobacter pyroli ชนิดที่ทนต่อยาฆ่าเชื้ออะมอกซิลิน (amoxicillin) และ คลาริโธมัยซิน (clarithromycin) (อ้างอิงที่ 37) นอกจากนี้ มีศึกษาการใช้ยาที่ทาจากสารสกัดชะเอมเทศในหนูทดลอง พบว่า สามารถป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารโดยช่วยลดกรด (อ้างอิงที่ 38) และมีการอ้างถึงการใช้สารสกัดจากชะเอมเทศในการใช้รักษาโรคกระเพาะ โดยจะไปช่วยกระตุ้นการสร้างเมือก (อ้างอิงที่ 36,39)
เอกสารอ้างอิง
1. วิธีดูแลตนเองเมื่อเป็น...โรคกระเพาะ RAMA Clinic เวปไซต์เพื่อประชาชน โรงพยาบาลรามาธิบดี.http://ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/main/?q=http%3A//ramaclinic.ra.mahidol.ac.th/main/contact
2. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน เรื่อง เกิร์ด (GERD) – โรคกรดไหลย้อน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/44/เกิร์ด-GERD-โรคกรดไหลย้อน/
แกสตราเฮิร์บ กิฟฟารีน Gastra-Herb
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผงว่านหางจระเข้ ผงขมิ้นชัน สารสกัด
จากมะขามป้อม สารสกัดจากใบบัวบก สารสกัดจากทับทิม ผง
ขิง ชะเอมเทศสกัด และสารสกัดจากขมิ้น
ชนิดแคปซูล (ตรา กิฟฟารีน)
ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณ ใน 1 แคปซูล :
– ผงว่านหางจระเข้ 100 มก.
– ผงขมิ้นชัน 100 มก
– สารสกัดจากมะขามป้อม 50 มก.
– สารสกัดจากใบบัวบก 50 มก.
– สารสกัดจากทับทิม 25 มก.
– ผงขิง 25 มก.
– ชะเอมเทศสกัด 15 มก.
– สารสกัดจากขมิ้น 6.67 มก.
เลขที่จดทะเบียนอย.13-1-03440-1-0174
วิธีรับประทาน : ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารและก่อน
นอน หรือเมื่อมีอาการอาหารไม่ย่อย จุกเสียด แน่นท้อง
รหัสสินค้า : 41026
ปริมาณสุทธิ : 60 แคปซูล
น้ำหนักรวม : 60 กรัม
ราคา : 600 บาท
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผงว่านหางจระเข้ ผงขมิ้นชัน สารสกัด
จากมะขามป้อม สารสกัดจากใบบัวบก สารสกัดจากทับทิม ผง
ขิง ชะเอมเทศสกัด และสารสกัดจากขมิ้น
ชนิดแคปซูล (ตรา กิฟฟารีน)
ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณ ใน 1 แคปซูล :
– ผงว่านหางจระเข้ 100 มก.
– ผงขมิ้นชัน 100 มก
– สารสกัดจากมะขามป้อม 50 มก.
– สารสกัดจากใบบัวบก 50 มก.
– สารสกัดจากทับทิม 25 มก.
– ผงขิง 25 มก.
– ชะเอมเทศสกัด 15 มก.
– สารสกัดจากขมิ้น 6.67 มก.
เลขที่จดทะเบียนอย.13-1-03440-1-0174
วิธีรับประทาน : ครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารและก่อน
นอน หรือเมื่อมีอาการอาหารไม่ย่อย จุกเสียด แน่นท้อง
รหัสสินค้า : 41026
ปริมาณสุทธิ : 60 แคปซูล
น้ำหนักรวม : 60 กรัม
ราคา : 600 บาท
วิธีการสมัครสมาชิกกับเรา แบบง่ายๆ หรือจะสั่งซื้อสินค้ากับเรา
1. สมัครได้ที่ศูนย์กิฟฟารีนใกล้บ้านท่าน โดนนำชื่อและระหัสผู้แนะนำไปกรอก
(สรรเสริญ ศรีวารีรัตน์ รหัส 57111144)หรือจะนำรหัสของผมได้ซื้อเองที่สำนักงาน หรือจะสั่งทางออนไลน์ได้เลยนะครับ
โทร 063-9263628Line ID :popandgungEmail :sansroen.s@gmail.com เป็นเพื่อนกับเราได้ที่...ติดต่อทางเฟสบุ๊ค
Line ID :popandgung
Email :sansroen.s@gmail.com
เป็นเพื่อนกับเราได้ที่...ติดต่อทางเฟสบุ๊ค