ในแต่ละวันดวงตาของคุณต้องทำงานหนักแค่ไหน
ทั้งจ้องจอคอมพิวเตอร์ ทั้งพูดคุยอัพเดทข่าวสารผ่านมือถือ ดวงตาก็เปรียบได้ดั่งมนุษย์
1 คน ที่เมื่อทำงานหนักก็ต้องการรับสารอาหารดีๆ
มีคุณค่าเพื่อบำรุงและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ นั่นคือ
อาหารเสริมบำรุงสายตา กิฟฟารีน แอลซีวิต พลัส เอ
ซึ่งประกอบด้วย
§
ลูทีนและซีแซนทีน ช่วยดูแลและลดความเสี่ยงจากโรคจอตาเสื่อม
§
วิตามินเอ ช่วยบำรุงสายตา
แอล ซี วิต พลัส เอ (LZ Vit Plus A)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลูทีน และซีแซนทีน ผสมวิตามินเอ ชนิดแคปซูล (ตรา กิฟฟารีน)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลูทีน และซีแซนทีน ผสมวิตามินเอ ชนิดแคปซูล (ตรา กิฟฟารีน)
วิธีรับประทาน : รับประทานวันละ 1-2 แคปซูล พร้อมอาหาร
ขนาด 30แคปซูล
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค และไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค
ขนาด 30แคปซูล
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค และไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค
ราคาขาย 580 บาท
ราคาสมาชิก 435 บาท
ราคาสมาชิก 435 บาท
สาระน่ารู้ :
- ลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต้อกระจก จอตาเสื่อม เบาหวาน มะเร็งเต้านม และ โรคหลอดเลือดหัวใจ
- เหมาะกับผู้ที่ใช้สายตามาก ผู้สูงอายุ ผู้ที่ทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรืออยู่กับแสงสว่างจ้ากลางแดด ผู้ที่ต้องขับรถกลางคืนบ่อยๆ ผู้ที่โดนแฟลช ดูทีวีมากและนาน
- ช่วยผู้ป่วยเบาหวาน โรคหัวใจ มะเร็งเต้านม
- เหมาะกับผู้ที่ใช้สายตามาก ผู้สูงอายุ ผู้ที่ทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรืออยู่กับแสงสว่างจ้ากลางแดด ผู้ที่ต้องขับรถกลางคืนบ่อยๆ ผู้ที่โดนแฟลช ดูทีวีมากและนาน
- ช่วยผู้ป่วยเบาหวาน โรคหัวใจ มะเร็งเต้านม
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “ลูกทีน ซีแซนทีน”
ลูทีน ซีแซนทีน อาหารบำรุงสายตา
อาหารดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพฉันใด อาหารบำรุงสายตาก็มีความจำเป็นต่อสุขภาพสายตาที่ดีฉันนั้น การมองเห็นเป็นสิ่งที่วิเศษสุดของคนเรา สุขภาพสายตาควรได้รับการดูแลอย่างดี ด้วยการใช้ดวงตาอย่างทะนุถนอมและรู้จักดูแลบำรุงรักษาสายตาด้วยการเลือกกินอาหารที่มีสารอาหารและวิตามินบำรุงสายตา
อาหารดีมีประโยชน์ต่อสุขภาพฉันใด อาหารบำรุงสายตาก็มีความจำเป็นต่อสุขภาพสายตาที่ดีฉันนั้น การมองเห็นเป็นสิ่งที่วิเศษสุดของคนเรา สุขภาพสายตาควรได้รับการดูแลอย่างดี ด้วยการใช้ดวงตาอย่างทะนุถนอมและรู้จักดูแลบำรุงรักษาสายตาด้วยการเลือกกินอาหารที่มีสารอาหารและวิตามินบำรุงสายตา
อาหารบำรุงสายตา จะมีวิตามินเอ สารอาหารที่ชื่อว่า ลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin)
เป็นสารอาหารสำคัญในอาหารบำรุงสายตา วิตามินเอจะได้จากอาหารจำพวก ตับไก่ ตับหมู ไข่แดง ฟักทอง ฯลฯ สำหรับสารอาหารลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน(Zeaxanthin) นั้นเหมาะสำหรับคนที่ห่วงใยสุขภาพสายตาอย่างจริงจังและคนที่ทำงานโดยใช้สายตามากเช่น คนที่ต้องนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆในแต่ละวัน หรือต้องทำงานอยู่กลางแจ้งที่มีแสงแดดจ้า คนที่ต้องขับรถกลางคืนบ่อยๆที่มักจะถูกแสงไฟรถที่วิ่งสวนมาสาดเข้าตาบ่อยๆ ในลักษณะเดียวกับแสงไฟแฟลชจากกล้องถ่ายรูปทำให้สายตาต้องทำงานหนักเมื่อเจอแสงสว่างในลักษณะนี้
เป็นสารอาหารสำคัญในอาหารบำรุงสายตา วิตามินเอจะได้จากอาหารจำพวก ตับไก่ ตับหมู ไข่แดง ฟักทอง ฯลฯ สำหรับสารอาหารลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน(Zeaxanthin) นั้นเหมาะสำหรับคนที่ห่วงใยสุขภาพสายตาอย่างจริงจังและคนที่ทำงานโดยใช้สายตามากเช่น คนที่ต้องนั่งทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆในแต่ละวัน หรือต้องทำงานอยู่กลางแจ้งที่มีแสงแดดจ้า คนที่ต้องขับรถกลางคืนบ่อยๆที่มักจะถูกแสงไฟรถที่วิ่งสวนมาสาดเข้าตาบ่อยๆ ในลักษณะเดียวกับแสงไฟแฟลชจากกล้องถ่ายรูปทำให้สายตาต้องทำงานหนักเมื่อเจอแสงสว่างในลักษณะนี้
อาหารที่มีลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน(Zeaxanthin)
ที่ช่วยบำรุงสายตาได้แก่อาหารจำพวกพืชผักผลไม้ที่มีสีเขียวเข้มและสีเหลืองเช่น ผักคะน้า ผักปวยเล้ง ผักโขม และข้าวโพด สารอาหารที่จำเป็นในการบำรุงสายตาควบคู่ไปกับลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน (Zeaxanthin)ก็คือวิตามินเอที่ได้จากอาหารจำพวกฟักทอง แครอท ผักตำลึง ตับหมู มะละกอ มะม่วงสุก ผักบุ้ง ฯลฯ นอกจากนี้สารอาหารทั้งสองตัวนี้ยังช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต้อกระจก(Cataracts) โรคกระจกตาเสื่อม(AMD) มะเร็งเต้านมและโรคหลอดเลือดหัวใจ
ที่ช่วยบำรุงสายตาได้แก่อาหารจำพวกพืชผักผลไม้ที่มีสีเขียวเข้มและสีเหลืองเช่น ผักคะน้า ผักปวยเล้ง ผักโขม และข้าวโพด สารอาหารที่จำเป็นในการบำรุงสายตาควบคู่ไปกับลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน (Zeaxanthin)ก็คือวิตามินเอที่ได้จากอาหารจำพวกฟักทอง แครอท ผักตำลึง ตับหมู มะละกอ มะม่วงสุก ผักบุ้ง ฯลฯ นอกจากนี้สารอาหารทั้งสองตัวนี้ยังช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคต้อกระจก(Cataracts) โรคกระจกตาเสื่อม(AMD) มะเร็งเต้านมและโรคหลอดเลือดหัวใจ
สารอาหารลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) นั้นจะอยู่ในจุดรับภาพของดวงตาคนเรา สารอาหารทั้งสองตัวนี้จะช่วยกรองแสงหรือป้องกันรังสีที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อดวงตา นอกจากนี้ลูทีน(Lutein) และ ซีแซนทีน(Zeaxanthin) ยังช่วยปกป้องไม่ให้เซลล์ของจอประสาทตาถูกทำลาย ดังนั้นการบำรุงรักษาสายตาทำได้โดยรู้จักเลือกกินอาหารที่มีสารลูทีน(Lutein)และซีแซนทีน(Zeaxanthin) อยู่เพื่อประโยชน์ในการบำรุงสายตา
การดูแลรักษาสุขภาพดวงตาให้มีสุขภาพดี นอกจากจะรู้จักเลือกกินอาหารบำรุงสายตาที่มีสารลูทีน (Lutein) ซีแซนทีน (Zeaxanthin) และวิตามินเอแล้วยังมีสิ่งที่ต้องทำควบคู่กันไปเพื่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพของสายตานั่นคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สายตาในการทำงานเช่น ใช้แผ่นกรองแสงกับจอคอมพิวเตอร์และปรับลดระดับแสงสว่างจากจอคอมพิวเตอร์ให้พอเหมาะอย่าให้สว่างจ้ามากเกินไป เมื่อทำงานที่ต้องใช้สายตามากๆเป็นเวลานานให้รู้จักหยุดพักสายตาบ้างสัก 3-5 นาทีแล้วค่อยกลับไปทำงานต่อ เมื่อต้องทำงานกลางแจ้งเป็นเวลานานควรสวมแว่นกันแดดเพื่อลดปริมาณแสงที่จะเข้ามายังตาของเรา
วิตามิน เอ มีความสำคัญเกี่ยวกับการมองเห็นในที่แสงสลัวและความแข็งแรงของเยื่อบุต่างๆ การขาดวิตามินเอทำให้การปรับตาในที่มืดช้าลง ซึ่งสามารถสังเกตได้ เช่น เวลาเข้าไปในห้องที่มืด หรือเข้าไปในโรงภาพยนต์ คนที่ขาดวิตามินเอต้องใช้เวลานานกว่าคนอื่นกว่าจะปรับสายตาให้มองเห็นทางเดินได้
อาหารบำรุงสายตาช่วยให้ดวงตาได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อดวงตาและการปรับพฤติกรรมการทำงานที่ต้องใช้สายตามากๆจะเป็นการป้องกันและช่วยถนอมรักษาดวงตา หากทำทั้งสองอย่างไปพร้อมกันก็เหมือนกับการบำรุงรักษาสายตาจากภายใน (กินอาหารบำรุงสายตา) และป้องกันอันตรายรบกวนกับสายตาจากภายนอก (ปรับพฤติกรรมการใช้สายตา) ซึ่งจะมีผลช่วยถนอมและรักษาดวงตาให้อยู่กับเราไปได้อีกนานเท่านาน
ลูทีนและซีแซนทีนมีประโยชน์ต่อดวงตาอย่างไร
ลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) เป็นสารธรรมชาติที่มีในพืชผักผลไม้หลายชนิด เป็นสารในตระกูลของสารแคโรทีนอยด์และพบได้ในบริเวณดวงตาตรงบริเวณเลนส์ตาและจอรับภาพของตา ในธรรมชาติแล้วแม้จะมีแคโรทีนอยด์มากกว่า 600 ชนิด แต่มีเพียงสาร 2 ชนิดนี้เท่านั้นที่พบในจุดรับภาพของจอตา
สารทั้งสองชนิดนี้จะทำหน้าที่ช่วยกรองหรือป้องกันรังสีจากแสงแดดที่เป็นอันตรายต่อดวงตา และช่วยปกป้องเซลล์ของจอประสาทตาไม่ให้ถูกทำลายโดยการลดอนุมูลอิสระ ดังนั้นจึงทำหน้าที่บำรุงตา ทำให้จอตาไม่เสื่อมเร็ว พืชผักที่มีสารลูทีนและซีแซนทีน โดยมากมักจะเป็นผักผลไม้ที่มีสีเหลืองและสีเขียวเข้ม เช่น ข้าวโพด แครอท ฟักทอง ผักกาด ผักปวยเล้ง คะน้า ผักโขมฯ การบริโภคพืชผักที่มีลูทีนและซีแซนทีน หรือแม้แต่อาหารสุขภาพที่มีสารสำคัญนี้มีประโยชน์ในโรคหลายชนิดด้วยกัน ที่สำคัญคือ โรคต้อกระจก และโรคจุดรับภาพเสื่อม
ลูทีน (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) เป็นสารธรรมชาติที่มีในพืชผักผลไม้หลายชนิด เป็นสารในตระกูลของสารแคโรทีนอยด์และพบได้ในบริเวณดวงตาตรงบริเวณเลนส์ตาและจอรับภาพของตา ในธรรมชาติแล้วแม้จะมีแคโรทีนอยด์มากกว่า 600 ชนิด แต่มีเพียงสาร 2 ชนิดนี้เท่านั้นที่พบในจุดรับภาพของจอตา
สารทั้งสองชนิดนี้จะทำหน้าที่ช่วยกรองหรือป้องกันรังสีจากแสงแดดที่เป็นอันตรายต่อดวงตา และช่วยปกป้องเซลล์ของจอประสาทตาไม่ให้ถูกทำลายโดยการลดอนุมูลอิสระ ดังนั้นจึงทำหน้าที่บำรุงตา ทำให้จอตาไม่เสื่อมเร็ว พืชผักที่มีสารลูทีนและซีแซนทีน โดยมากมักจะเป็นผักผลไม้ที่มีสีเหลืองและสีเขียวเข้ม เช่น ข้าวโพด แครอท ฟักทอง ผักกาด ผักปวยเล้ง คะน้า ผักโขมฯ การบริโภคพืชผักที่มีลูทีนและซีแซนทีน หรือแม้แต่อาหารสุขภาพที่มีสารสำคัญนี้มีประโยชน์ในโรคหลายชนิดด้วยกัน ที่สำคัญคือ โรคต้อกระจก และโรคจุดรับภาพเสื่อม
โรคต้อกระจก ( Cataract )
คือภาวะที่กระจกตาหรือเลนส์ตาขุ่น ทำให้แสงไม่สามารถผ่านเข้าไปในตาได้ ตามปกติต้อกระจกไม่ใช่โรคติดต่อ ต้อกระจกจะค่อยๆ ขุ่นไปอย่างช้าๆ ใช้เวลาเป็นปีๆ และสามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด
โรคจุดรับภาพเสื่อม ( Macula degeneration )
เกิดจากการเสื่อมของจุดรับภาพ (Macular) ซึ่งเป็นกลางจอตา (Retina) ทำให้การมองเห็นภาพเบลอบิดเบี้ยว บางครั้งอาจรุนแรงขนาดเห็นจุดดำมาบังภาพอยู่ตลอดเวลา
เกิดจากการเสื่อมของจุดรับภาพ (Macular) ซึ่งเป็นกลางจอตา (Retina) ทำให้การมองเห็นภาพเบลอบิดเบี้ยว บางครั้งอาจรุนแรงขนาดเห็นจุดดำมาบังภาพอยู่ตลอดเวลา
ลูทีนและซีแซนทีนกับโรคต้อกระจก
กลไลของลูทีนและซีแซนทีน สามารถลด ป้องกัน หรือชะลอการเกิดต้อกระจกได้นั้น เป็นเพราะลดกลไกการเกิดความเสื่อมของโรคต้อกระจกโดยตรง (อ้างอิงที่ 1) และการที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 2, 3) เพราะอนุมูลอิสระเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดต้อกระจก (อ้างอิงที่ 4) มีการวิจัยในกลุ่มผู้สูงอายุ ต่างๆ พบว่ากลุ่มที่มีระดับของลูทีนและซีแซนทีนในกระแสเลือดสูงจะมีความขุ่นของเลนส์ตาน้อยกว่า ซึ่งเป็นการวิจัยของจักษุแพทย์และผู้วิจัยสรุปว่า ลูทีนและซีแซนทีน น่าจะลดการเกิดความเสื่อมของเลนส์ตาในผู้สูงอายุได้จริง (อ้างอิงที่ 5)
กลไลของลูทีนและซีแซนทีน สามารถลด ป้องกัน หรือชะลอการเกิดต้อกระจกได้นั้น เป็นเพราะลดกลไกการเกิดความเสื่อมของโรคต้อกระจกโดยตรง (อ้างอิงที่ 1) และการที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (อ้างอิงที่ 2, 3) เพราะอนุมูลอิสระเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดต้อกระจก (อ้างอิงที่ 4) มีการวิจัยในกลุ่มผู้สูงอายุ ต่างๆ พบว่ากลุ่มที่มีระดับของลูทีนและซีแซนทีนในกระแสเลือดสูงจะมีความขุ่นของเลนส์ตาน้อยกว่า ซึ่งเป็นการวิจัยของจักษุแพทย์และผู้วิจัยสรุปว่า ลูทีนและซีแซนทีน น่าจะลดการเกิดความเสื่อมของเลนส์ตาในผู้สูงอายุได้จริง (อ้างอิงที่ 5)
ยังมีการวิจัยว่าการรับประทานลูทีนในปริมาณสูงเพิ่มความสามารถในการมองเห็นของผู้ป่วยที่เป็นต้อกระจกไปแล้ว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยที่มีการออกแบบแผนการวิจัยมาอย่างดี และทำการทดลองเป็นเวลานานถึงสองปี (อ้างอิงที่ 6)
การวิจัยที่ Harvard School of Public Health, Boston ในผู้ชาย 36,644 คน ที่ได้รับอาหารเสริมและวิตามินต่างๆ พบว่ากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมเป็นลูทีนและซีแซนทีน จะลดความเสื่อมของโรคต้อกระจกถึง 19% (อ้างอิงที่ 7)และที่ University of Massachusetts ทำวิจัยในสุภาพสตรีถึง 50,461 คนพบว่า ลูทีนและซีแซนทีน จะลดความเสี่ยงของโรคต้อกระจกถึง 22%(อ้างอิงที่ 8) การวิจัยที่ University of Wisconsin Madison Medical School ในผู้สูงอายุ 43-48 ปี จำนวน 1,354 คน พบว่าช่วยลดอุบัติการณ์ของต้อกระจกที่เกิดตรงกลางเลนส์ (Nuclear Cataracts) ได้ถึง 50% (อ้างอิงที่ 9)
จากการวิจัยทั้งหมดนี้จึงเป็นที่ยอมรับว่า ลูทีนและซีแซนทีนลดอุบัติการณ์โรคต้อกระจกในผู้สูงอายุได้จริง
ลูทีนและซีแซนทีนกับโรคจุดรับภาพเสื่อม
นอกจากลูทีนและซีแซนทีนจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต้อกระจกแล้ว ยังพบว่ามีประโยชน์ในโรคจุดรับภาพเสื่อม ซึ่งมีหลายๆ การศึกษาสนับสนุนข้อมูลดังกล่าว โดยพบว่าถ้าปริมาณลูทีนและซีแซนทีนในลูกตาลดน้อยลง จะพบความเสื่อมมากขึ้นในการเป็นโรคจุดรับภาพเสื่อม (อ้างอิงที่ 10) และความเสี่ยงในการเป็นโรคจุดรับภาพเสื่อมจะลดลง หากมีปริมาณลูทีนและซีแซนทีนในเลือดสูงขึ้น (อ้างอิงที่ 11, 12) แสดงให้เห็นว่า การบริโภคอาหารที่มีลูทีนและซีแซนทีน สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได
ลูทีนและซีแซนทีนกับโรคจุดรับภาพเสื่อม
นอกจากลูทีนและซีแซนทีนจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต้อกระจกแล้ว ยังพบว่ามีประโยชน์ในโรคจุดรับภาพเสื่อม ซึ่งมีหลายๆ การศึกษาสนับสนุนข้อมูลดังกล่าว โดยพบว่าถ้าปริมาณลูทีนและซีแซนทีนในลูกตาลดน้อยลง จะพบความเสื่อมมากขึ้นในการเป็นโรคจุดรับภาพเสื่อม (อ้างอิงที่ 10) และความเสี่ยงในการเป็นโรคจุดรับภาพเสื่อมจะลดลง หากมีปริมาณลูทีนและซีแซนทีนในเลือดสูงขึ้น (อ้างอิงที่ 11, 12) แสดงให้เห็นว่า การบริโภคอาหารที่มีลูทีนและซีแซนทีน สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได
วิตามิน เอ
วิตามิน เอ มีประโยชน์ต่อร่างกายหลายประการ ที่สำคัญ คือ ช่วยในการมองเห็น (อ้างอิงที่ 13) โดยไปร่วมใช้ ในการสร้างสารที่ใช้ในการมองเห็น หากขาดจะทำให้มองเห็นได้ยากในเวลากลางคืนหรือในที่แสงสว่างน้อย และทำให้เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาเป็นแผล ในกรณีที่ร่างกายขาดวิตามิน เอ อย่างรุนแรงอาจทำให้ตาบอดได้
วิตามิน เอ มีประโยชน์ต่อร่างกายหลายประการ ที่สำคัญ คือ ช่วยในการมองเห็น (อ้างอิงที่ 13) โดยไปร่วมใช้ ในการสร้างสารที่ใช้ในการมองเห็น หากขาดจะทำให้มองเห็นได้ยากในเวลากลางคืนหรือในที่แสงสว่างน้อย และทำให้เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาเป็นแผล ในกรณีที่ร่างกายขาดวิตามิน เอ อย่างรุนแรงอาจทำให้ตาบอดได้
เอกสารอ้างอิง :
1. The body of evidence to support a protective role for lutein and zeaxanthin in delaying chronic disease. Overview. J Nutr. 2002 Mar;132(3):518S-524S
2. Antioxidant and prooxidant properties of carotenoids. Arch Biochem Biophys. 2001 Jan 1;385(1):20-7
3. Biochim. Biophys. Acta 199;1068:68-72
4. Ocular photosensitization. Photochem Photobiol. 1987 Dec;46(6):1051-5
5. Lens aging in relation to nutritional determinants and possible risk factors for age-related cataract. Arch Ophthalmol. 2002 Dec;120(12):1732-7
1. The body of evidence to support a protective role for lutein and zeaxanthin in delaying chronic disease. Overview. J Nutr. 2002 Mar;132(3):518S-524S
2. Antioxidant and prooxidant properties of carotenoids. Arch Biochem Biophys. 2001 Jan 1;385(1):20-7
3. Biochim. Biophys. Acta 199;1068:68-72
4. Ocular photosensitization. Photochem Photobiol. 1987 Dec;46(6):1051-5
5. Lens aging in relation to nutritional determinants and possible risk factors for age-related cataract. Arch Ophthalmol. 2002 Dec;120(12):1732-7
6. Lutein, but not alpha-tocopherol, supplementation improves visual function in patients with age-related cataracts: a 2-y double-blind, placebo-controlled pilot study. Nutrition. 2003 Jan;19(1):21-4
7. A prospective study of carotenoid intake and risk of cataract extraction in US men. Am J Clin Nutr. 1999 Oct;70(4):517-24
8. A prospective study of carotenoid and vitamin A intakes and risk of cataract extraction in US women. Am J Clin Nutr. 1999 Oct;70(4):509-16
9. Antioxidant intake and risk of incident age-related nuclear cataracts in the Beaver Dam Eye Study. Am J Epidemiol. 1999 May 1;149(9):801-9
10. The macular pigment: a possible role in protection from age-related macular degeneration. Adv Pharmacol. 1997;38:537-56
11. Antioxidant status and neovascular age-related macular degeneration. Eye Disease Case-Control Study Group. Arch Ophthalmol. 1993 Jan;111(1):104-9
12. Dietary carotenoids, vitamins A, C, and E, and advanced age-related macular degeneration. Eye Disease Case-Control Study Group. JAMA. 1994 Nov 9;272(18):1413-20
13. ประกาศสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแสดงข้อความกล่าวอ้างเกี่ยวกับหน้าที่ของสารอาหาร http://newsser.fda.moph.go.th/food/file/Laws/Announcement%20of%20the%20Food%20and%20Drug%20Administration/Nutrition_Claim(11-08-51).pdf
ส่วนประกอบสำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล :
§
ลูทีน 20%
15.75 มิลลิกรัม (ให้ ลูทีน 3.15 มิลลิกรัม)
§
ซีแซนทีน 20%
15.75 มิลลิกรัม (ให้ ซีแซนทีน 3.15 มิลลิกรัม)
§
วิตามิน เอ แพลมิเทต
1,332 มิลลิกรัม (ให้ วิตามิน เอ 1,332 หน่วยสากล)
วิธีรับประทาน : รับประทานวันละ
1-2 แคปซูล พร้อมอาหาร
คำเตือน : อ่านคำเตือนในฉลากก่อนบริโภค และไม่มีผลในการป้องกันหรือรักษาโรค
รหัสสินค้า : 40114
ปริมาณสุทธิ : 30.00 แคปซูล
ราคาเต็ม : 580 บาท
ราคาสมาชิก : 435 บาท (435 PV)
วิธีการสมัครสมาชิกกับเรา แบบง่ายๆ หรือจะสั่งซื้อสินค้ากับเรา
1. สมัครได้ที่ศูนย์กิฟฟารีนใกล้บ้านท่าน โดนนำชื่อและระหัสผู้แนะนำไปกรอก
(สรรเสริญ ศรีวารีรัตน์ รหัส 57111144)หรือจะนำรหัสของผมได้ซื้อเองที่สำนักงาน หรือจะสั่งทางออนไลน์ได้เลยนะครับ
โทร 063-9263628Line ID :popandgungEmail :sansroen.s@gmail.com
Line ID :popandgung
Email :sansroen.s@gmail.com
เป็นเพื่อนกับเราได้ที่...ติดต่อทางเฟสบุ๊ค